เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์

เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ เรียนง่ายเป็นเร็ว Zero to Hero

4.70 (41 reviews)
Udemy
platform
ภาษาไทย
language
Software Engineering
category
เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์
204
students
18.5 hours
content
May 2023
last update
$19.99
regular price

What you will learn

ผู้เรียนจะเข้าใจเนื้อหาพื้นฐานที่สำคัญของศาสตร์ด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์เพื่อเป็นวิศวกรซอฟต์แวร์ที่ดีได้

ผู้เรียนจะได้รับความเข้าใจอย่างถี่ถ้วนเกี่ยวกับเนื้อหาของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ความหมายของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เส้นทางสายอาชีพวิศวกรซอฟต์แวร์ ขั้นตอนและโมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ การบริหารจัดการโครงงานซอฟต์แวร์ หน้าที่ของทีม

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ตั้งแต่วิธีการเก็บความต้องการของลูกค้า การวิเคราะห์ความต้องการ ออกแบบ UML Diagrams UX/UI การพัฒนาAgile การทดสอบ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์

ผู้เรียนสามารถนำความรู้ของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ไปต่อยอดประยุกต์ใช้งานจริงของอาชีพวิศวกรซอฟต์แวร์ได้

ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ทำ Software Projects ต่าง ๆ ในการเรียนและการทำงานจริงได้

Why take this course?

หลักสูตร เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ เรียนง่ายเป็นเร็ว Zero to Hero

สามารถเรียนได้ทุกคน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้มาก่อน

เนื้อหาการเรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์

แบ่งเป็น 15 ส่วน

ส่วนที่ 1: เริ่มต้นทำความเข้าใจศาสตร์วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Learn Software Engineering)

1. ความหมายของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ What is Software Engineering?

2. ทักษะวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่ได้เมื่อเริ่มเรียนเป็น Student

3. ขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ Software Development Life Cycle (SDLC)

4. ทักษะวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่ได้หลังจากผ่านการฝึกงานเป็น Trainee

5. ทักษะวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่ได้เมื่อเป็น Software Engineer

6. เส้นทางของสายอาชีพวิศวกรซอฟต์แวร์ Software Engineering Careers

7. เส้นทางการเป็นวิศวกรซอฟต์แวร์ How to Become Software Engineers

8. ช่องทางการหางาน Software Engineer ทั้งในประเทศและต่างประเทศกลุ่ม FAAG

ส่วนที่ 2: เรียนรู้ศาสตร์ด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Introduction to Software Engineering)

9. แนะนำวิศวกรรมซอฟต์แวร์

10. ประเภทของผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ Types of  Software Products

11. ลักษณะของซอฟต์แวร์ที่ดี Good Software

12. ปัจจัยที่ส่งผลกับการพัฒนาซอฟต์แวร์

13. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานซอฟต์แวร์ Clients Customers Users

14. ความเสี่ยงที่ส่งผลกับการพัฒนาซอฟต์แวร์

15. หน้าที่รับผิดชอบการพัฒนาซอฟต์แวร์

16. กระบวนการซอฟต์แวร์ Software Process

17. ขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์แวร์ Software Development Process Steps

18. STEP 1: Feasibility and Planning

19. STEP 2: Requirements

20. STEP 3: User Interface Design

21. STEP 4: System and Program Design

22. STEP 5: Implementation (Coding)

23. STEP 6: Acceptance and Release

24. STEP 7: Operation and Maintenance

25. ขั้นตอนการควบคุมคุณภาพของการพัฒนาซอฟต์แวร์ Quality Control

26. หมวดหมู่การทดสอบซอฟต์แวร์

ส่วนที่ 3: แบบฝึกหัดและสรุปเนื้อหาส่วนเริ่มต้น Introduction to Software Engineering

27. 1. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ Software Engineering

28. 2. รูปภาพดังกล่าว ต้องใช้หลักการทางวิศวกรรมด้านใด จึงจะถูกต้องที่สุด

29. 3. แนวทางการพัฒนา Software ที่ดี ควรเลือกพัฒนาแบบไหน ข้อใดตอบได้ถูกต้อง

30. 4. หลักการพัฒนา Software ที่ตรงกับแนวคิด Minimum Viable Product ข้อใดถูกต้อง

31. 5. ข้อใดเรียงลำดับกระบวนการพัฒนา Software ได้ถูกต้อง

32. 6. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของ Software Engineer

33. 7. ข้อใดเรียงลำดับเส้นทางสายงาน Software Engineer ได้ถูกต้อง

34. 8. Software Engineer ต้องมีความเกี่ยวข้องกับอาชีพใดบ้าง

35. 9. ข้อใดคือทักษะที่ Software Engineer ต้องมีในการทำงาน

36. 10. นอกจากทักษะเหล่านี้แล้ว Software Engineer ต้องมีทักษะอะไรเพิ่มอีกบ้าง

ส่วนที่ 4: กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ SDCL & Software Process Models

37. Software Development Life Cycle (SDLC) Phases

38. แนะนำโมเดลกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Process Models)

39. Waterfall Model

40. V Model

41. Incremental Model

42. RAD Model

43. Iterative Model

44. Spiral Model

45. Prototype Model

46. Agile Model

47. DevOps Model

ส่วนที่ 5: ทบทวนเสริม กระบวนการและโมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์

48. พื้นฐานกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Basic Software Process)

49. รูปแบบการพัฒนาแบบ Heavyweight & Lightweight

50. ทบทวน Waterfall Model

51. ทบทวน Iterative Refinement

52. ทบทวน Spiral Development

53. ทบทวน Agile Development

54. โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบผสม Mixed Process

55. วิธีการเลือกใช้โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Choosing a Software Process)

ส่วนที่ 6: แบบฝึกหัดและสรุปเนื้อหาส่วน Software Development Life Cycle (SDLC)

56. 1. SDLC ย่อมจากคำว่าอะไร

57. 2. เรียงลำดับ SDLC Phases ให้ถูกต้อง

58. 3. ขั้นการ Planning ควรอยู่ใน Phase ใด

59. 4. Phase ใดที่ต้องใช้ความสามารถในการเขียนโปรแกรม Programming

60. 5. Phase ใดใช้เวลาในการพัฒนา Software มากที่สุด

61. 6. ขั้นการเก็บความต้องการ Requirement ของลูกค้า ควรอยู่ใน Phase ใด

62. 7. ขั้นเร่ิมต้นของ UX/UI ควรอยู่ใน Phase ใด

63. 8. ขั้นตอนการทำ User Training สอน User ใช้งาน Software ควรอยู่ใน Phase ใด

64. 9. Testing ใดที่ต้องไปทดสอบกับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้ายอมรับ

65. 10. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับ Automation Testing มากที่สุด

ส่วนที่ 7: แบบฝึกหัดและสรุปเนื้อหาส่วน SDLC & Software Process Models

66. 1. ข้อใดคือ SDLC Model หรือ Software Process Models

67. 2. Waterfall Model ไม่เหมาะสมกับการพัฒนา Software แบบใด

68. 3. V Model นำมาใช้ในการพัฒนา Software ที่ทุกขั้นตอนต้องเกี่ยวข้องกับ Phase ใด

69. 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ Incremental Model มากที่สุด

70. 5. Phase ใดที่เป็นจุดเด่นของ RAD Model

71. 6. ข้อดีของการใช้ Iterative Model ในการพัฒนา Software คือข้อใด

72. 7. ข้อใดคือจุดเด่นของ Prototype Model ในการพัฒนา Software

73. 8. ข้อใดคือจุดเด่นของ Spiral Model ในการพัฒนา Software

74. 9. ข้อใดคือจุดเด่นของ Agile Model ในการพัฒนา Software

75. 10. ข้อใดกล่าวถึง DevOps Model ได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 8: การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Agile ด้วยวิธีการ Scrum Software Development พร้อมแบบฝึกหัด

76. กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ Agile ด้วยวิธีการ Scrum

77. 1. ข้อใดคือวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามหลักการของ Agile

78. 2. วิธีการ Scrum เกิดขึ้นจาก Agile Software Development เพื่อช่วยเรื่องใด

79. 3. ใครคือบทบาทหลักของ Scrum

80. 4. ข้อใดกล่าวถูกต้องมากที่สุดเกี่ยวกับบทบาทของคนใน Scrum

81. 5. ข้อใดคือการทำงานของ Product Backlog

82. 6. ข้อใดคือการทำงานของ Sprint Planning Meeting

83. 7. ข้อใดคือการทำงานของ Sprint Backlog

84. 8. ข้อใดคือการทำงานของ Daily Scrum Meeting

85. 9. ข้อใดคือการทำงานของ Sprint Review Meeting

86. 10. ข้อใดคือการทำงานของ Sprint Retrospective Meeting

ส่วนที่ 9: วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าด้วย Requirement & User Stories

87. การวิเคราะห์ Requirements & User Stories

88. ปัญหาความต้องการของลูกค้าที่พบ Requirement Problems

89. วิธีแก้ปัญหาความต้องการของลูกค้า Requirement Problems Solution

90. เข้าใจหลักการของ Requirements & User Stories เพื่อวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า

91. โครงสร้างการกำหนด Requirements & User Story Tasks ของโครงงานซอฟต์แวร์

92. ตัวอย่างสร้าง User Stories สำหรับสกัดความต้องการของลูกค้าในการพัฒนาซอฟต์แวร์

ส่วนที่ 10: แบบฝึกหัดและสรุปเนื้อหาส่วน Requirements & User Stories

93. 1. Requirement คืออะไร

94. 2. User Story คืออะไร

95. 3. ข้อใดคือหลักการเขียน User Story ที่ถูกต้อง

96. 4. ข้อใดคือปัญหาของ Requirement เรื่องนี้

97. 5. ปัญหานี้แก้ไขได้ด้วยวิธีการใด

98. 6. ใครที่ต้องเกี่ยวข้องกับ Requirements

99. 7. Functional Requirements vs Non-Functional Requirements ต่างกันอย่างไร

100. 8. ข้อใดคือ Developer-Specific Requirement

101. 9. ข้อใดเรียงลำดับได้ถูกต้อง

102. 10. Product Owner จัดอยู่ในฝั่งไหนของการบริหาร Project

ส่วนที่ 11: ออกแบบ UML Diagrams สำหรับการพัฒนาโครงงานซอฟต์แวร์

103. ฝึกปฏิบัติการเขียน Use Case Diagram ออกแบบระบบซื้อของ Online Shopping Part 1

104. ฝึกปฏิบัติการเขียน Use Case Diagram ออกแบบระบบซื้อของ Online Shopping Part 2

105. ฝึกปฏิบัติการเขียน Use Case Diagram ออกแบบระบบ IoT Hardware Smart Farm Part 1

106. ฝึกปฏิบัติการเขียน Use Case Diagram ออกแบบระบบ IoT Hardware Smart Farm Part 2

107. ฝึกปฏิบัติการเขียน Activity Diagram ออกแบบระบบ Online Shopping Part 1

108. ฝึกปฏิบัติการเขียน Activity Diagram ออกแบบระบบ Online Shopping Part 2

ส่วนที่ 12: แบบฝึกหัดและสรุปเนื้อหาส่วน UML Diagrams

109. 1. ข้อใดคือ UML Diagrams

110. 2. แผนภาพใดของ UML Diagram ที่ได้รับความนิยม

111. 3. ข้อใดคือ Class Diagram

112. 4. ข้อใดคือ Object Diagram

113. 5. ข้อใดคือ Component Diagram

114. 6. ข้อใดคือ Deployment Diagram

115. 7. ข้อใดคือ Use Case Diagram

116. 8. ข้อใดคือ Sequence Diagram

117. 9. ข้อใดคือ Activity Diagram

118. 10. ข้อใดคือ State Machine Diagram

ส่วนที่ 13: ออกแบบ User Experience & User Interface (UX & UI Design)

119. เข้าใจการออกแบบ UX/UI

120. เข้าใจ Full Stack Designer ทั้ง SD, CX, UX, IA, IxD และ UI

121. การออกแบบ User Experience (UX)

122. ความแตกต่างระหว่าง UX และ UI

123. ตัวอย่างอธิบายความเข้าใจการออกแบบ UX

124. สายอาชีพการออกแบบ UX/UI & Application & Graphic Designers and Developers

125. ทักษะที่ใช้ในการออกแบบทางด้าน UX และ UI

126. ตัวอย่างความเข้าใจของ UX และ UI

127. ขั้นตอนการออกแบบ UX เชิงจิตวิทยา

128. ตัวอย่างการออกแบบ UI ที่ดีสำหรับการออกแบบซอฟต์แวร์

129. สิ่งที่ต้องใช้ในการทำงานอาชีพนักออกแบบและพัฒนา UX & UI สำหรับโครงงานซอฟต์แวร์

130. UX/UI Designer Roadmap Part 1

131. UX/UI Designer Roadmap Part 2

132. UX/UI Designer Roadmap Part 3

ส่วนที่ 14: ออกแบบ User Experience & User Interface (UX & UI Design)

133. 1. ข้อใดคือ User Experience

134. 2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ UX และ UI

135. 3. ข้อใดคือผลลัพธ์ของการทำ User Experiecne

136. 4. ข้อใดคือหน้าที่ของ UX Designer และ UI Designer & Developer

137. 5. ข้อใดคือ UI หรือ User Interface

138. 6. ข้อใดคือ UX หรือ User Experience

139. 7. ข้อใดคือการออกแบบ UX/UI ที่ดี

140. 8. ข้อใดคือการออกแบบ UX/UI ที่ดี

141. 9. ข้อใดคือแนวทางการออกแบบ UX เพื่อโน้มน้าวใจผู้ใช้เชิงธุรกิจ

142. 10. ข้อใดคือเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานด้าน UX/UI

ส่วนที่ 15: การทดสอบซอฟต์แวร์ (Software Testing)

143. เข้าใจการทดสอบซอฟต์แวร์

144. ประเภทของการทดสอบซอฟต์แวร์

145. การทดสอบซอฟต์แวร์แบบ Ice Cream Cone

146. การทดสอบซอฟต์แวร์แบบ Pyramid

147. การทดสอบซอฟต์แวร์แบบ Cup Cake

148. การทดสอบซอฟต์แวร์แบบ Mixed Pyramid & Cup Cake

149. สรุปการทดสอบซอฟต์แวร์

ส่วนที่ 16: จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer Ethics)

150. จรรยาบรรณของวิศซกรซอฟต์แวร์และนักพัฒนาซอฟต์แวร์

151. จรรยาบรรณของของวิศวกรซอฟต์แวร์มีอะไรบ้าง

152. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Transparency & Honesty

153. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Privacy & Data Protection

154. แนะนำที่มาที่ไปของ PDPA พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

155. ความหมายของ PDPA คืออะไร

156. ข้อมูลส่วนบุคคล Personal Data คืออะไร

157. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับ PDPA

158. บทลงโทษถ้าละเมิดสิทธิของ PDPA

159. สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ทำได้ตาม PDPA

160. สิทธิของผู้ประกอบการที่ต้องปฏิบัติตาม PDPA

161. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Safety & Security

162. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Accessibility

163. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Fairness & Non-discrimination

164. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Professionalism

165. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Intellectual Property

166. จรรยาบรรณของวิศวกรซอฟต์แวร์ด้าน Social Responsibility

Screenshots

เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Screenshot_01เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Screenshot_02เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Screenshot_03เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Screenshot_04

Charts

Price

เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Price chart

Rating

เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Ratings chart

Enrollment distribution

เรียน Software Engineering ปูพื้นฐานสำหรับวิศวกรซอฟต์แวร์ - Distribution chart

Related Topics

5052230
udemy ID
1/1/2023
course created date
1/8/2023
course indexed date
Bot
course submited by